Monday, August 15, 2016

กิจกรรมท้ายบทที่5
1.ผังงานระบบใช้ในงานระบบใด
ง แสดงลำดับการทำงานของโปรแกรม
2.การเขียนผังงานของโปรแกรมต้องทำสิ่งใดเป็นลำดับแรก
ง เลือกโครงสร้างผังงานที่ต้องการใช้
3.โครงสร้างผังแบบทำซ้ำ(Iteration Structure) ประกอบด้วยลักษณะการทำงานแบบใด
ค ทำงานซ้ำ
4.โครงสร้างผังงานแบบมีการเลือกใช้ผลลัพท์การเปรียบเทียบใดเป็นหลักในการเลือกทำงาน
ง ใช้ทุกการเปรียบเทียบทำงานประกอบกัน
5.ข้อใดไม่ใช่การใช้งานศัญลักษณ์Connector
ค ผังงานมีขนาดใหญ่และต้องเขียนออกมาในหลายหน้ากระดาษ
6.การเขียนลูกศรในภาคปฏิบัติ โดยทั่วไปมีทิศทางอย่างไร
ก จากบนไปล่าง และจากซ้ายไปขวา
7.ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของผังงานเมื่อมีการนำเสนองาน
ข แสดงความสามารถของผู้ออกแบบทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ
8.ผังงานแสดงลักษณะอะไรในโปรแกรมเแ็นลัก
ข ลำดับขึ้นตอนการทำงานของโปรแกรม
9.สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับการเขียนผังงานคืออะไร
ข มีจุดเริ่มต้นและมีจุดสิ้นสุด
10.การคำนวณพื้นที่รูปสามเหลี่ยมใช้วิธีผังงานโดนใช้โครงสร้างแบบใด
ค แบบมีการทำซ้ำ

ตอบคำถามต่อไปนี้พอสังเขป

1.ผังงานคืออะไร มีความสำคัญอย่างไร
แผนการใช้แสดงลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ทำให้ทราบขั้นตอนและลำดับของการทำงานของโปรแกรม
2,ผังงานระบบต่างจากผังงานโปรแกรมอย่างไง
จะแสดงขอบเขตและขั้นตอนการทำงานของระบบโดยรวมจะแสดงขั้นตอนการทำงานภายในระบบหนึ่ง
3,ให้ยกตัวอย่างสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับการแสดงผลข้อมูล
Collate,Sort,Connector
4.ในกรณีที่ผังงานมีขนาดใหญ่และซับซ้อน ท่านคิดว่ามีแนวทางแก้ไขอย่างไรได้บ้าง
ควรเขียนเเยกเป็นส่วนแล้วค่อยสร้างจุดเชื่อมโยงในแต่ละส่วน
5.ท่านคิดว่าผังงานสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับงานประเภทอื่น นอกเหนือจากการออกแบบโปรแกรมได้หรือไม่
สามารถนำไปประยุกต์ใช้และเขียนโปรแกรมเป็นภาษาอื่นได้หลายภาษา.
กิจกรรมท้ายบทที่4
1.การวิคราะห์สิ่งที่ต้องการในออกแบบและพัฒนาโปรแกรมคืออะไร
ง ถูกทุกข้อ เพราะทุกโปรแกรมต้องทำงานบนคอมพิวเตอร์และแสดงผลลัพท์การทำงาน
2.ข้อใดต่อไปนี้เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการในการวิเคราะห์งานสำหรับออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ค ต้องการให้แสดงข้อความโดยใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่เพื่อใ้อ่านข้อมูลที่ได้ง่ายๆ
3.จากตัวเลือกข้อ3ข้อใดเป็นการวิเคราะห์รูปแบบผลลัพท์
ค ข้อก ข และ ค
4.ข้อใดเป็นการวิเคราะห์รูปแบบผลลัพท์
ค ต้องแสดงข้อมูลืชที่นำเข้าทุกรายการ
5.ทำไมต้องตั้งชื่อตัวแปรแทนข้อมูลนำเข้าในการวิเคราห์งาน
ค เพื่อให้สอดคล้องกับการตั้งชื่อตัวแปรของภาษาที่จะเลือกมาใช้ในการเขียนโปรแกรม
6.การตั้งชื่อตัวแปรในข้อใดไม่เหมาะสม
ข. student_first_and_last_nameแทนชื่อเต็มของนักศึกษาที่ประกอบด้วยคำนำหน้านาม ชื่อตัว และชื่อสกุล
7.การประมววลผลแบบรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิมเตอร์ทีละรายการแล้วประมวลผลทันที เหมาะกับงานประเภทใด 
ง เหมาะทุกข้อ
8.การประมวลผลแบบรับข้อมูลข้าสู่คอมพิวเตอร์ครบทุกรายการแล้วประมวลผลทันที่เหมาะกับงานประเภทใด
ง ไม่มีข้อใดเหมาะสม 
9. ฏปรแกรมออใบเสร็จรับเงินให้ลูกค้าในร้านขายปลีกควนมีกำหนดจุดจบการประมวลผลอย่างไร
ข ใช้วิธ๊ทดสอลข้อมูลสุดท้าย โดยใข้ตัวแปรที่เปนข้อมูลนำเข้า
10.โปรแกรมประมวลผลคำควรมีการกำหนดจุดจบการประมวลผลอย่างไร
ก ใช้วิธีกำหนดตัวแปรสำหรับนับรอบ(Loop)

ตอบคำถามต่อไปนี้พอสังเขป
1.การวิคราะห์งานสำคัญอย่างไร
จะได้เป็นขึ้นตอนและพิจารณา จำแนก แยกแยะ ประเมิณผล
2.การวิเคราะห์งานประกอบด้วยประเด็นพิจารฯาอะไรบ้าง
กระบวนการพิจารณา จำแนก แยกแยะ ประเมินผล
3.เหตุใดการวิเคราะห์งานโดยทั่วไปมักเริ่มพิจารณาผลลัพท์หรือที่ต้องการอ่าน
ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์งานไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติงานจริง ... ผู้อ่านจะต้องมองเห็นภาพความสัมพันธ์ของขั้นตอนและกิจกรรมต่างๆ 
4.การวิเคราะห์ข้อมูลนำเข้าสำคัญอย่างไร
พิจารณาข้อมูลที่นำเข้าว่าครบถ้วนสำหรับการประมวลผลลัพท์หรือไม่และคำนึงถึงประเภทของข้อมูล
5.หลักทั่วไปในการตั้งชื่อตัวแปรมีอะไรบ้าง
id, n 

Sunday, August 14, 2016

กิจกรรมท้ายบทที่ 3 
1.คุณลักษณะของโปรแกรมที่ดี มีลักษณะอย่างไร
ง ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดคือลักษณะของโปรแกรมที่มีความถูกต้องและเชื่อถือได้
ข โปรแกรมที่มีความเสถียรภาพ ไม่ค่อยเกินปัญหา
3.วงจรการพัฒนาโปรแกรมประกอบด้วยกี่ขึ้นตอน
ค 6 
4.ก่อนเริ่มต้นเขียนโปรแกรม ควรทำสิ่งใดเป็นขึ้นตอนแรก
ค วิเคราะห์ระบบ
5.ข้อใดไม่อยู่ในวงจรการพัฒนาโปรแกรม
ข การวางแผนการตลาด
6.ข้อดีของกาารวางแผนปัญหาคือ
ก ช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
7.ในการวิเคราะห์ปัญหา เรานำสิ่งใดมาร่วมในการศึกษาบ้าง
ง ถูกทุกข้อ
8.ข้อใดคือความหมายของDebugs
ข การแก้ไขข้อผิดพลาด
9.Desk Checking คือ
ค การตรวจสอบก่อนนำโปรแกรมเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
10. ขั้นตอนสุดท้ายของวงจรกพัฒนาโปรแกรม
ง บำรุงรักษาโปรแกรม

ตอบคำถามต่อไปนี้พอสังเขป

1.จงอธิบายขั้นตอนวงจรพัฒนาโปรแกรมมาพอสังเขป
1.วิเคราะห์ 2.ออกแบบ 3.เขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ 4.ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5.ทำเอกสารประกอบโปรแกรม 6.บำรุงรักษาโปรแกรม
2. ซูโดโค้ด คืออะไร ช่วยการพัฒนาโปรแกรทอะไร
เป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใช้ถ้อยคำระหว่างภาษาไทยและภาษาอังกฤษผสม 
3.เอกสารประกอบโปรแกรมีความสำคัญอย่างไร ถ้าไม่มีจะเกิดผลเสียอย่างไร
ช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้ตลอดจนผลลัพท์ที่ได้จากโปรแกรม
4.โปรแกรมError เกิดจากสาเหตุใดบ้าง
เกิดจาการผิดพลาดของไวยกรณ์ของภาษาและข้อผิดพลาดที่เกิดจากการตีความหมายของปัญหาผิดไป
5.หตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาโปรแกรมที่นำไปใช้งานแล้ว
การใช้งานไปนานๆผู้ใช้ต้องการปลี่ยนแปลงการทำงานของระบบให้เหมาะกับเหตุการณ์ 

กิจกรรมท้ายบทที่2 
ตอนที่1 เลือกคำตอบที่ถูกเพียงข้อเดียว

1.ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ระดับ
 ค. 5 ระดับ
2. ข้อใดคือความหมายของ แอสเซมเบลอร์
 ก. เป็นตัวแปรภาษานิวมอนิกโค้ดให้เป็นภาษาเครื่อง
3. ภาษาฟอร์นแทรน นำมาใช้ในงานด้านใด
 ก วิทยาศาสตร์และวิศวกรรม
4.Jonn George Kemeny บุคคลนี้มีความสำคัญอย่างไร
 ก เป็นผู้ออกเเบบภาษาเบสิก
5. จุดเด่นของภาษาเบสิค คือ
 ข.มีรูปแบบคำสั่งที่ใช้งานได้ง่าย
6. ข้อดีของภาษาโคบอล คือ
 ข เป็นภาษาที่นิยมใช้งานด้านธุรกิจ
7 .ใครเป็นผู้พัฒนาภาษาซี
ค. Bjarne Stroustrup
8.ใครเป็นผู้พัฒนาภาษาวิชวลเบสิก
ง Alan Cooper
9. ข้อดีของภาษา Java คือ
ค.เป็นภาษาที่ทำงานได้บนทุกระะบบ
10. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยในการพิจารณาในการเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรม
ค การทำงานร่วมกับโปรแกรมเมอร์คนอื่น

ตอนที่2 ตอบคำถามดังต่อไปนี้พอสังเขป

1.จงอธิบายคุณลักษณะของภาษาแอสเซมบลี
ช่วยให้จดจำคำสั่งได้ง่นขึ้น เพราะมีassember
2. จงอธิบายภษาในยุคต่างๆพร้อมบอกข้อดีและข้อเสียของแต่ละภาษา
ภาษาครื่อง มี 1 และ 0 ป็นคำสั่งเเต่จะยุ่งยาก
ภาษาแอมเซมบลี ง่ายแต่เป็นภาษาขั้นต่ำ
ภาษาขั้นสูง เขียนเป็นโปรแกรม แผนเป็นระเบียบแต่ซับซ้อน
ภาษาขึ้นสูงมาก ง่ายต่อการสั่งแต่ซับซ้อน
ภาษาธรรมชาติ ใช้ภาษามนุษย์ในการสั่ง ซึ่งรูปแบบอาจไม่ตายตัว
3, จงอธิบายคำว่า "โปรแกรมเชิงวัตถุ"
คือการพัฒนาการเขียนโปรแกรมให้มองทุกอย่างในเชิงวัตถุ
4.วิธีการเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรม
เลือกโดยการดูคุณสมบัติหรือข้อดีของภาษานั้นๆ
5.ถ้านักเรียนจะต้องลือกศึกษาภาษาสำหรับการประกอบอาชีพ จะเลือกศึกษาภาษาใด เพราะเหตุใด
ภาษาธรรมชาติ เพราะ ง่ายและ ใช้ภาษามนุษย์ในการสั่งข้อมูล

Wednesday, June 29, 2016




เกร็ดความรู้

เว็บไซต์เครือข่ายทางสังคม 

เป็นชุมชนออนไลน์ ที่มีเป้าหมายในการเป็นจุดเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้ โดยอาจจะเชี่อมโยงผ่านจกิจจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่สนใจร่วมกัน ตัวอย่างเว็บไซต์เครือข่ายสังคม เช่น Facebook, myspace, Linkedin. 

ความคิดเห็นของดิฉัน ดิฉันคิดว่าการมีเว็บไซต์เครือข่ายทางสังคมเป็นสิ่งที่ดี เพราะทำให้เข้าถึงสิ่งที่เราอยากรู้และสนใจ เเละได้รู้จักบุคคลอื่นที่มีความสนใจเหมือนกับเรา และได้มีการทำความรู้จักและแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ 




อ้างอิงข้อมูลจาก หนังสือเทคโนโลโยสารสนเทศและการสื่อการ หน้า 169




Wednesday, May 25, 2016

Hello Guys! You can't missed this !


Hello! 
Boys and girls, what are you waiting for ? It just 5days left ! This very good opportunity is not easy to find! I believe that all of you can but you're just afraid. Become an exchange student and let's open this big world together! 
"To be an change student , this is not a year in a life but it's a life in a year" 

Come and join in our AFS family. :) <3

สวัสดีค่ะ ! ^_^ น้องๆพี่ๆทุกคน AFS รุ่นที่56  เปิดรับสมัครแล้วนะคะ โอกาสดีๆมาถึงแล้ วรีบๆมาสมัครกันนะคะ อีกไม่กี่วันจะปิดรับสมัครแล้วนะคะ  มาร่วม
เป็นครอบครัวAFSด้วยกันคะ :) <3